1. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เมื่อเปลี่ยนแปลงไปแล้ว
สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้อีก หรือ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีทั้งการเปลี่ยนแปลงไป
ข้างหน้าและการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ
2. ภาวะสมดุล
เมื่อสารท าปฏิกิริยากัน ที่ภาวะสมดุลจะมีทั้งสารที่เข้าท าปฏิกิริยา (reactant) และ
ผลผลิต (product) ภาวะสมดุล (equilibrium state) เกิดขึ้นเมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไป
ข้างหน้า (forward reaction ) เท่ากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ (reverse reaction ) ถ้าใน
ระบบที่พิจารณาถ้าปฏิกิริยาเปลี่ยนไปข้างหน้าและย้อนกลับเกิดขึ้นตลอดเวลา เรียกว่า สมดุล
พลวัต หรือสมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium) เขียนแทนด้วยลูกศรไป-กลับ
( ) แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
3. การดา เนินเข้าส่ภูาวะสมดลุ ของระบบ
การด าเนินเข้าสู่สภาวะสมดุลของระบบไม่ขึ้นอยู่กับทิศทาง ไม่ว่าจะเริ่มจากการ
เปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าหรือเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ เมื่อระบบเข้าสู่สมดุล ภาวะ
สมดุลที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ
4. สมดลุ ในปฏิกิริยาเคมี
4.1 ค่าคงทีส่ มดลุ
กฎของภาวะสมดุลทางเคมี (Law of Chemical Equilibrium) กล่าวว่า “ ส าหรับ
ปฏิกิริยาที่ผนั กลบัได้ที่ภาวะสมดลุ ผลคณู ของความเข้มข้นของสารผลิตภณั ฑ์เมื่อหาร
ด้วยผลคณู ของความเข้มข้นของสารตงั้ต้นที่เหลือ โดยที่ความเข้มข้นของสารแต่ละชนิด
ยกกา ลงัด้วยเลขสมั ประสิทธ์ิบอกจา นวนโมลของสารในสมการที่ดุลแล้วจะมีค่าคงที่
เสมอเมื่ออณุ หภมูิคงที่”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น